หลักสูตรปริญญาตรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (วทอ.) เป็นส่วนงานระดับคณะของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ก่อตั้งขึ้นจากโครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันใน ปี พ.ศ. 2502 ปัจจุบันวิทยาลัยเปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับเตรียมวิศวกรรมศาสตร์จนถึงระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งครอบคลุมในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตช่างฝีมือ วิศวกร นักเทคโนโลยี รวมถึงนักวิจัยขั้นสูง ด้วยระบบการเรียนการสอนแบบเยอรมันที่มุ่งเน้นการปฏิบัติ และประสบการณ์จริงในโรงงาน ให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
หลักสูตรเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (EP) 3 สาขา ได้แก่
สาขาวิชาเครื่องกล
สาขาวิชาโยธา
หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) 6 สาขา ได้แก่
สาขาวิชาเทคโนโลยีแมคคาทรอนิกส์
สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องต้นกำลังเทคโนโลยียานยนต์/เครื่องต้นกำลังอุตสาหกรรม
สาขาวิชาเทคโนโลยีการเชื่อม
สาขาวิชาเทคโนโลยไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม/คอมพิวเตอร์/เครื่องมือวัดและควบคุม
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 4 สาขา ได้แก่
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมออกแบบและผลิตเครื่องจักรกล สร้างเครื่องจักรกล/ออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องกล
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการทำความเย็นและการปรับอากาศ
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมแม่พิมพ์และเครื่องมือ
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 12 สาขา ได้แก่
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมพอลิเมอร์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการทำความเย็นและการปรับอากาศ
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและเทคโนโลยี
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 1 สาขา ได้แก่
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) 8 สาขา ได้แก่
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมพลังงาน
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าประยุกต์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการก่อสร้าง
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีวิศวกรรม
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) 2 สาขา ได้แก่
สาขาวิชาการจัดการเชิงวิศวกรรมและสิ่งแวดล้อมในเมือง
หลักสูตรหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วศ.ด) 1 สาขา ได้แก่
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด) 1 สาขา
ภาควิชาทั้งหมด
หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)
- สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการออกแบบและผลิตเครื่องจักรกล 2 แขนง (PDF)
– แขนงวิชาสร้างเครื่องจักรกล MDET(M)
– แขนงวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องกล MDET(D)
- สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมแม่พิมพ์และเครื่องมือ TDET(P) (PDF)
- สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ MtET (PDF)
- สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมพอลิเมอร์ PoET (PDF)
หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) (เทียบโอน)
- แขนงวิชาแม่พิมพ์พลาสติก TDET(P)-2R
- แขนงวิชาแม่พิมพ์โลหะ TDET(D)-2RS
- แขนงวิชาสร้างเครื่องจักรกล MDET(M)-2R11
- แขนงวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องกล MDET(D)-2R11
หลักสูตรปริญญาโท อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (อส.ม.) ต่อเนื่อง
หลักสูตรปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม) (PDF)
- กลุ่มวิชาด้านการออกแบบและการสร้างเครื่องจักรกล
- กลุ่มวิชาด้านการออกแบบและการสร้างแม่พิมพ์
- กลุ่มวิชาด้านแมคคาทรอนิกส์
- กลุ่มวิชาด้านกระบวนการผลิตทางพอลิเมอร์
- กลุ่มวิชาด้านกลศาสตร์การคำนวณ
หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมบัณฑิต (วศ.บ.) 4 ปี (PDF)
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (ภาษาไทย) | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
แขนงวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (อิเล็กทรอนิกส์กำลัง) | ภาคปกติ 147 หน่วยกิต (ปริญญานิพนธ์) | จ-ศ. (09.00 – 16.00) | 19,000 บาท (ประมาณ) |
แขนงวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า – (อิเล็กทรอนิกส์กำลัง) – (ควบคุม) |
ภาคสมทบ 147 หน่วยกิต (ปริญญานิพนธ์) | จ-ศ. (09.00 – 16.00) | 29,000 บาท (ประมาณ) |
หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมบัณฑิต (วศ.บ.) 3 ปี (PDF)
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (ภาษาไทย) | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
แขนงวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (อิเล็กทรอนิกส์กำลัง) | ภาคปกติ 123 หน่วยกิต (ปริญญานิพนธ์) | จ-ศ. (09.00 – 16.00) | 19,000 บาท (ประมาณ) |
หลักสูตรปริญญาตรี อุตสาหกรรมบัณฑิต (อส.บ.) ต่อเนื่อง 2-3 ปี (PDF)
สาขา | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง 2 ปี (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 86 หน่วยกิต (ปริญญานิพนธ์) | จ-ศ. (09.00 – 16.00 น.) | 19,000 บาท (ประมาณ) |
สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง 3 ปี (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 86 หน่วยกิต (ปริญญานิพนธ์) | จ-ศ. (17.00 – 20.00 น.) ส (08.00 – 16.00 น.) |
19,000 บาท (ประมาณ) |
หลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 2 ปี
สาขา | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าประยุกต์ (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 39 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์) | จ-ศ. (16.00 – 21.00 น.) ส (08.00 – 16.00 น.) |
17,000 บาท (ประมาณ) |
หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต 4 ปี (PDF)
สาขา | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและเทคโนโลยี | 148 หน่วยกิต | จ-ศ (08.00 – 16.00 น.) | 19,000 บาท (ประมาณ) |
หลักสูตรปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต 2 ปี (PDF)
สาขา | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการก่อสร้าง | ภาคปกติ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์) | จ-ศ (08.00 – 16.00 น.) | 19,000 บาท (ประมาณ) |
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการก่อสร้าง | ภาคพิเศษ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์) | ส-อา (18.00 – 21.00 น.) | 35,000 บาท (ประมาณ) |
หลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 2 ปี (PDF)
สาขา | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
สาขาวิชาการจัดการด้านวิศวกรรมและสิ่งแวดล้อมในเมือง | ภาคปกติ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์) | จ-ศ (08.00 – 16.00 น.) | 19,000 บาท (ประมาณ) |
หลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 2 ปี (PDF)
สาขา | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
สาขาการจัดการนวัตกรรมเพื่อธุรกิจและอุตสาหกรรม (สหวิทยาการ) | ภาคปกติ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์) | จ-ศ (18.00 – 21.00 น.) | 18,000 บาท |
สาขาการจัดการนวัตกรรมเพื่อธุรกิจและอุตสาหกรรม (สหวิทยาการ) | ภาคปกติ 36 หน่วยกิต (สารนิพนธ์) | จ-ศ (18.00 – 21.00 น.) | 18,000 บาท |
- เพื่อผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการที่มีความเชี่ยวชาญ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีวิสัยทัศน์ในการเลือกและใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยให้เหมาะสมกับงานด้านอุตสาหกรรมในแต่ละด้าน
- พื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดี มีคุณธรรมและมีทักษะเพียงพอที่จะสามารถดำเนินธุรกิจอุตสาหกรรม อย่างมีประสิทธิภาพและมีความรับผิดชอบต่อชุมชน
หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 4 ปี
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์ (PDF)
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการทำความเย็นและการปรับอากาศ (PDF)
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (PDF)
หลักสูตรปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) 2-3 ปี
เทคโนโลยีเครื่องต้นกำลัง (PDF)
หลักสูตรปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) 2 ปี (PDF)
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมพลังงาน
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์และพลังงาน
หลักสูตรปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมพลังงาน
ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนึ่งในสิบหน่วยงานของวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมซึ่งประกอบไปด้วย 4 แขนงวิชา ได้แก่ แขนงวิชาการกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ แขนงวิชาเครื่องมือวัดและควบคุม และแขนงวิชาโทรคมนาคม ปัจจุบันภาควิชาฯจัดการเรียนการสอนทั้งหมด 3 หลักสูตรด้วยกัน ได้แก่ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์ (MEEE) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) และหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ (ECT-EIT-ETT)
แขนงวิชาการกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์ – มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถออกแบบและผลิตสื่อในงานกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์ สามารถความคุมการดำเนินงานในสถานี สามารถติดตั้งและตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ ตลอดจนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่องานกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์
แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ – มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถออกแบบและประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ สามารถออกแบบและวิเคราะห์โครงสร้างข้อมูล อัลกอริธึม และเทคนิคทางด้านปัญญาประดิษฐ์เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ สามารถออกแบบและพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ เว็บแอฟพลิเคชันและระบบฐานข้อมูล สามารถออกแบบระบบเครือข่าย
แขนงวิชาเครื่องมือวัดและควบคุม – มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถใช้เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจจับในอุตสาหกรรมได้อย่างเหมาะสม สามารถออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการวัดคุม สามารถออกแบบและวิเคราะห์ระบบควบคุมทางอุตสาหกรรม สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับงานควบคุมในอุตสาหกรรม
แขนงวิชาโทรคมนาคม – มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและออกแบบระบบการสื่อสารอนาล็อค-ดิจิทัล และระบบเครือคอมพิวเตอร์ทั้งแบบมีสายและไร้สาย สามารถออกแบบวงจรไมโครเวฟและอุปกรณ์แพร่กระจายคลื่น สามารถใช้โปรแกรมจำลองในการทำงานระบบสื่อสารและออกแบบอุปกรณ์สื่อสาร
หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 4 ปี (PDF)
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
แขนงโทรคมนาคม (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 147 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 16.00 น.) | 19,000 บาท (เหมาจ่าย) |
แขนงโทรคมนาคม (ภาษาไทย) | ภาคสมทบพิเศษ 147 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 16.00 น.) | 25,000 บาท (เหมาจ่าย) |
แขนงคอมพิวเตอร์ (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 147 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 16.00 น.) | 19,000 บาท (เหมาจ่าย) |
แขนงเครื่องมือวัดและควบคุม (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 147 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 16.00 น.) | 19,000 บาท (เหมาจ่าย) |
แขนงการกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์ (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 147 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 16.00 น.) | 19,000 บาท (เหมาจ่าย) |
หลักสูตรปริญาตรี อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) 2-3 ปี (PDF)
สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
แขนงโทรคมนาคม (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 85 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 16.00 น.) 2 ปี จ-ศ (17.00 – 21.00 น.) 3 ปี ส (09.00 – 16.00 น.) 3 ปี |
19,000 บาท (เหมาจ่าย) |
แขนงคอมพิวเตอร์ (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 85 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 16.00 น.) 2 ปี จ-ศ (17.00 – 21.00 น.) 3 ปี ส (09.00 – 16.00 น.) 3 ปี |
19,000 บาท (เหมาจ่าย) |
แขนงเครื่องมือวัดและควบคุม (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 85 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 16.00 น.) 2 ปี จ-ศ (17.00 – 21.00 น.) 3 ปี ส (09.00 – 16.00 น.) 3 ปี |
19,000 บาท (เหมาจ่าย) |
หลักสูตรปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 2 ปี (PDF)
สาขา | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์ (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์) | จ-ศ (09.00 – 16.00 น.) | 19,000 บาท (ประมาณ) |
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์ (ภาษาไทย) | ภาคปกติ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์) | จ-ศ (09.00 – 16.00 น.) ส. (09.00 – 16.00 น.) |
19,000 บาท (เหมาจ่าย) |
หลักสูตรปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (PDF)
สาขา | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการผลิตและสารสนเทศ | ภาคปกติ 141 หน่วยกิต (ปริญญานิพนธ์) | จ-ส (8.00-21.00 น.) | 19,000 (ประมาณ) |
สาขาวิชาคณิตศาสตร์เชิงวิทยาการคอมพิวเตอร์ | ภาคสมทบพิเศษ 141 หน่วยกิต (ปริญญานิพนธ์) | จ-ส (8.00-21.00 น.) | 29,000 (ประมาณ) |
โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน เป็นหน่วยงานระดับภาควิชา สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บริหารงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จัดการเรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลักสูตรเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ เปิดสอน 3 สาขา ได้แก่ สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาเครื่องกล และสาขาโยธา (โปรแกรมภาษาไทย, โปรแกรมภาษาอังกฤษ) โดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนที่ฝึกให้นักเรียนมีทักษะความชำนาญในงานปฏิบัติ เสริมสร้างประสบการณ์ทางเทคนิค ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ และวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมที่มีความสำคัญสำหรับนักเรียนนำไปใช้ศึกษาต่อระดับในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในประเทศหรือต่างประเทศ
คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ต้องสำเร็จการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนสุดท้ายระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 (ไม่รับสอบเทียบ ม.3) โดยเมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วผู้ที่จะเข้าศึกษาต่อจะต้องมีระดับผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) เฉพาะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม.3) ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือ มีผลการเรียนรวมเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ชั้น ม.1 – ม.3 ไม่ต่ำกว่า 2.50 โดยมหาวิทยาลัยจะพิจารณาผลการเรียนจากระเบียนการแสดงผลการเรียนหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 3 มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (ปพ.1:3) เท่านั้น
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 3 ปี
สาขา | เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา | ช่วงเวลาเรียน | ค่าเทอม |
---|---|---|---|
สาขาเครื่องกล (ภาษาไทย) | 131 หน่วยกิต | จ-ศ (08.00 – 18.00 น.) | 18,000 บาท (เหมาจ่าย) |
สาขาเครื่องกล (ภาษาอังกฤษ) | 131 หน่วยกิต | จ-ศ (08.00 – 18.00 น.) | 55,000 บาท (เหมาจ่าย) |
สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (ภาษาไทย) | 131 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 18.00 น.) | 18,000 บาท (เหมาจ่าย) |
สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (ภาษาอังกฤษ) | 131 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 18.00 น.) | 55,000 บาท (เหมาจ่าย) |
สาขาโยธา (ภาษาไทย) | 131 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 18.00 น.) | 18,000 บาท (เหมาจ่าย) |
สาขาโยธา (อังกฤษ) | 131 หน่วยกิต | จ-ศ (09.00 – 18.00 น.) | 55,000 บาท (เหมาจ่าย) |
ทุนการศึกษา
ทุนการศึกษาจากเงินพัฒนาวิชาการ (รายละเอียดเพิ่มเติม Facebook โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน)
– ประเภทเรียนดี
– ประเภทขาดแคลนทุนทรัพย์
– ประเภทลดหย่อนค่าเล่าเรียน