ผศ.ดร. วราห์ สาดะระ
คุณวุฒิและสาขาวิชา
สถาบันการศึกษา |
ระยะเวลาที่เข้าศึกษา |
วุฒิการศึกษา |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (KMUTNB) |
ตุลาคม 2553 – กรกฎาคม 2560 |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (KMUTNB) |
มิถุนายน 2551 - ตุลาคม 2553 |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ (KMITNB) |
มิถุนายน2546 - พฤษภาคม 2549 |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
วิทยานิพนธ์ (ปริญญาเอก) :
วราห์ สาดะระ, “แบคทูแบคคอนเวอร์เตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบป้อนสองทางที่สามารถทำงานภายใต้แรงดันไฟฟ้าผิดพร่อง ของระบบแปลงผันพลังงานลม”, ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, (KMUTNB)
วิทยานิพนธ์ (ปริญญาโท) :
วราห์ สาดะระ, “การสร้างชุดควบคุมคอนเวอร์เตอร์ฝั่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบป้อนสองทางในระบบแปลงผันพลังงานลม”, ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, (KMUTNB
ประวัติการทำงาน
ประสบการณ์ การทำงาน:
การประกอบวิชาชีพ : มีประสบการณ์ 9 ปี ในการศึกษา วิเคราะห์ การถ่ายทอดองค์ความรู้ในการ ฝึกอบรมและการเรียนการสอน การทำงานวิจัย งานปรับปรุงและออกแบบทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า การตรวจสอบความปลอดภัยระบบไฟฟ้า การประหยัดพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานทดแทนโดยมีผลงานอย่างต่อเนื่อง
- พฤษภาคม 2552 – พฤศจิกายน 2552
เข้าร่วมโครงการสร้างขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา และการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมโดยกลไกความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชนและมหาวิทยาลัย (U-IRC) โดยประจำ ณ. สถานฝึกทักษะ บริษัท แพนไดรฟ์ส จำกัด
- พ.ศ. 2552
เขียนหนังสือ การออกแบบระบบไฟฟ้า (รหัส 3104-2004) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ
- พ.ศ. 2556
ที่ปรึกษาด้านระบบไฟฟ้า บริษัท รอยัล เปเปอร์ ฟอร์ม จำกัด ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร 74130
- ตุลาคม 2552 – ตุลาคม 2556
อาจารย์พิเศษ ของภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มจพ.
- ตุลาคม 2556 – ปัจจุบัน
อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มจพ.
ทำหน้าที่สอนวิชา เครื่องจักรกลไฟฟ้า ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า
จัดทำหลักสูตร วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
ผลงานทางวิชาการ
Wara Sadara and Bunlung Neammanee, “Control Technique of Back – To - Back Converter for DFIG in Wind Energy Conversion System under Abnormal Voltage Conditions” will be accepted published on IEEJ TRANSACTIONS ON ELECTRICAL AND ELECTRONIC ENGINEERING, Sept. 2018. |
W. Sadara and B. Neammanee, "Dynamic Behavior of Flexible Drive Train Models and Back-to-Back Converter for DFIG Wind Turbines during Voltage Sags", Applied Mechanics and Materials, Vol. 704, pp. 170-179, 2015 |
[2] |
Wara Sadara and Bunlung Neammanee, “Dynamic Behavior of Flexible Drive Train Models and Back-to-Back Converter for DFIG Wind Turbines During Voltage Sags,” International Conference on Power and Energy Systems Engineering (CPESE 2014), Golden River-view Hotel, Shanghai, China, September 26-27, 2014. |
[3] |
Wara Sadara, Bunlung Neamanee “ Implementation of a Three Phase Grid Synchronization for Doubly-fed Induction Generators in Wind Energy System ” presentation at Electrical Engineering Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI) International Conference, Chiang Mai, Thailand, 19-21 May, 2010, pp.: 1016-1020. |
[4] |
Korawit Krajangpan, Wara Sadara, Bunlung Neammanee “ Control Strategies for Maximum Active Power and Minimum Copper Loss of Doubly Fed Induction Generator in Wind Turbine System” presentation at International Conference on Power System Technology (POWERCON2010), Hangzhou, China on October 24-28, 2010. |
[1] |
Decha Panprasert, Wara Sadara, Satit Owatchaiphong and Bunlung Neammanee, “Design and Construction of a Low-starting Torque Synchronous Generator for Low-speed Wind Turbine,” The 40th Electrical Engineering Conference (EECON), National Conference, Pattaya, Thailand, 15-17 Nov., 2017, pp.: 351-354. |
[2] |
Decha Panprasert, Wara Sadara and Bunlung Neammanee, “Behavior of Doubly-fed Induction Generator Wind Turbine under Voltage Sag,” The 40th Electrical Engineering Conference (EECON), National Conference, Pattaya, Thailand, 15-17 Nov., 2017, pp.: 262-265. |
[3] |
วราห์ สาดะระ, บัลลังก์ เนียมมณี. “การออกแบบและสร้างชุดควบคุมคอนเวอร์เตอร์ฝั่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบป้อนสองทางสำหรับกังหันลม” U-IRC Research สวทช. 1th, มิถุนายน 2553). |
[4] |
วราห์ สาดะระ, บัลลังก์ เนียมมณี, ปรีชา อ่องอารี “คอนเวอร์เตอร์ฝั่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบป้อนสองทางสำหรับกังหันลม.” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 33, EE-CON., ธันวาคม 2553. (Best paper award) |
ได้รับ ทุนสนับสนุนระดับบัณฑิตศึกษา ภายใต้โครงการสร้างขีดความสามารถด้านการวิจัยและการพัฒนา และการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม (U-IRC Research), สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สนับสนุนให้ศึกษาต่อในระดับปริญาโทระหว่างปีการศึกษา 2552-2553
- การควบคุมคอนเวอร์เตอร์ฝั่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบป้อนสองทางในระบบแปลงผันพลังงานลม
- การควบคุมคอนเวอร์เตอร์ฝั่งระบบไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบป้อนสองทางในระบบแปลงผันพลังงานลม
- การสกัดกำลังไฟฟ้าสูงสุดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบป้อนสองทางในระบแปลงผันพลังงานลม
- การสร้างและพัฒนาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าความเร็วต่ำสำหรับระบบพลังงานทดแทนอาทิเช่นกังหันลม, กังหันน้ำเป็นต้น
- ตรวจสอบคุณภาพระบบไฟฟ้าในโรงงาน และเป็นที่ปรึกษาด้านการประหยัดพลังงาน
[1] โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาเทคนิคการควบคุมอินเวอร์เตอร์เซลล์ แสงอาทิตย์ที่เชื่อมต่อ
ระบบไฟฟ้าหลายตัวแบบขนาน โดยตรงที่ไม่มีการสื่อสาร
ตำแหน่ง: นักวิจัย
สนับสนุนทุนวิจัยโดย: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย [1 เม.ย. 2562 – 31 ม.ค. 2564]
[2] โครงการศึกษาและพัฒนาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าของกังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยนักวิจัยด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
สนับสนุนทุนวิจัยโดย : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน, สัญญาเลขที่ 136/60 ลงวันที่ 11 พ.ย. 2559 -11 ส.ค. 2560
[3] โครงการสาธิตอุปกรณ์ประหยัดพลังงานในศูนย์บริการวิชาการ
ตำแหน่ง: วิศวกรไฟฟ้า
สนับสนุนทุนวิจัยโดย : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน, สัญญาเลขที่ 231/59 ลงวันที่ 11 ม.ค. 2559 -10 ม.ค. 2560
[4] โครงการสาธิตนำร่องผลิตน้ำสะอาดด้วยพลังงานหมุนเวียนแบบผสมผสาน
ตำแหน่ง: นักวิจัยด้านพลังงาน
สนับสนุนทุนวิจัยโดย: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, กระทรวงพลังงาน [มี.ค. 2557 – พ.ย. 2557] [5] ศึกษาวิจัยและพัฒนาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำหรับกังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กเพื่อผลิตในประเทศ
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยนักวิจัยด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
สนับสนุนทุนวิจัยโดย: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, กระทรวงพลังงาน [ธ.ค. 2553 – พ.ย. 2554] [6] โครงการ ศึกษาเปรียบเทียบการใช้งานกังหันลมความเร็วลมต่ำรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับการใช้งานในเขต กฟน.
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยนักวิจัยด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
สนับสนุนทุนวิจัยโดย: ฝ่ายวิจัยและพัฒนา, การไฟฟ้านครหลวง [ม.ค. 2555 – ม.ค. 2557] [7] การจ้างที่ปรึกษาศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมในการติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟ้าให้กับบริษัท พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
ตำแหน่ง: ผู้ร่วมวิจัย
สนับสนุนทุนวิจัยโดย: บริษัท พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด [พ.ค. 2554 – ต.ค. 2555] [8] โครงการถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
ตำแหน่ง: วิทยากร จัดทำหลักสูตรการอมรมการสร้างกังหันลมผลิตไฟฟ้าแบบแกนหมุนแนวตั้ง
สนับสนุนทุนวิจัยโดย: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, กระทรวงพลังงาน [2555] [9] โครงการถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
ตำแหน่ง: วิทยากร จัดทำหลักสูตรการอมรมการสร้างกังหันลมผลิตไฟฟ้าแบบแกนหมุนแนวนอน
สนับสนุนทุนวิจัยโดย: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, กระทรวงพลังงาน [2554] [10] โครงการ การประเมินศักยภาพพลังงานลมเฉพาะแหล่งเพื่อติดตั้งทุ่งกังหันลมขนาดใหญ่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกจนถึงจังหวัดตราด
ตำแหน่ง: ผู้ร่วมวิจัย
สนับสนุนทุนวิจัยโดย: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ [มิ.ย. 2553 – เม.ย. 2554]