สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (ออกแบบเครื่องกล-ออกแบบแม่พิมพ์-ผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน)
ลักษณะของหลักสูตรปริญญาตรี 2-3 ปี จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 85 หน่วยกิต
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทช่างอุตสาหกรรมในสาขาวิชาช่างกลโรงงาน ช่างเขียนแบบเครื่องกล ช่างออกแบบและสร้างแม่พิมพ์ ช่างเครื่องกลอุตสาหกรรม สาขางานผลิต หรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง
- มีคุณสมบัติอื่นๆ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต
หลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วนกิต รวมตลอดหลักสูตร 85 หน่วยกิต
-
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 15 หน่วยกิต
ก. กลุ่มวิชาภาษา 6 หน่วยกิต
ข. กลุ่มวิชาบูรณาการ 3 หน่วยกิต
ค. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต
ง. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 3 หน่วยกิต
-
2. หมวดวิชาเฉพาะ 64 หน่วยกิต
ก. กลุ่มวิชาแกน 21 หน่วยกิต
ข. กลุ่มวิชาชีพเฉพาะแขนง
– แขนงวิชาการออกแบบเครื่องกล 43 หน่วยกิต
– แขนงวิชาการออกแบบแม่พิมพ์ 43 หน่วยกิต
– แขนงวิชาการผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน 43 หน่วยกิต
ค. กลุ่มวิชาประสบการณ์วิชาชีพ (ไม่นับหน่วยกิต) 2 (240 ชั่วโมง)
-
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ 2: พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์
ภาคการศึกษาฤดูร้อน : เมษายน – พฤษภาคม
ค่าธรรมเนียมการศึกษา 25,000 บาท /ภาคการศึกษา
กลุ่มวิชาชีพด้านออกแบบเครื่องจักรกล
ELO 1 (S) มีความสามารถนำความรู้ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติมาประยุกต์ และพัฒนาอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีเครื่องกล
ELO 2 (S) มีความสามารถในการวิเคราะห์ ออกแบบ และสร้างเครื่องจักรกลให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ELO 3 (G) มีความเป็นผู้นำ มีคุณธรรม จริยธรรม และรับผิดชอบต่อสังคม
ELO 4 (G) มีทักษะทางภาษา สามารถสื่อสาร นำเสนอ และทำงานเป็นทีมได้
ELO 5 (S) มีความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมด้านการออกแบบเครื่องกล
กลุ่มวิชาชีพด้านออกแบบแม่พิมพ์
ELO 1 (S) มีความสามารถในการออกแบบและสร้างแม่พิมพ์พลาสติกและแม่พิมพ์โลหะได้
ELO 2 (S) มีทักษะในการใช้ความรู้ทางทฤษฎีเพื่อแก้ไขปัญหาทางวิศวกรรมได้
ELO 3 (G) มีความเป็นผู้นำ มีคุณธรรม จริยธรรม และรับผิดชอบต่อสังคม
ELO 4 (G) มีทักษะทางภาษา สามารถสื่อสาร นำเสนอ และทำงานเป็นทีมได้
ELO 5 (S) มีความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมด้านการออกแบบแม่พิมพ์
กลุ่มวิชาชีพด้านผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน
ELO 1 (S) มีความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์พื้นฐานทางวิศวกรรมเพื่อใช้ในการผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน
ELO 2 (S) มีทักษะในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางทฤษฎีเพื่อวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในการผลิตชิ้นส่วนอากาศยานได้
ELO 3 (G) มีความเป็นผู้นำ มีคุณธรรม จริยธรรม และรับผิดชอบต่อสังคม
ELO 4 (G) มีทักษะทางภาษา สามารถสื่อสาร นำเสนอ และทำงานเป็นทีมได้
ELO 5 (S) มีความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมด้านการผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- วิศวกรฝ่ายผลิต
- วิศวกรฝ่ายซ่อมบำรุงและรักษาเครื่องจักรกล
- วิศวกรแม่พิมพ์
- วิศวกรฝ่ายผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน
- ประกอบอาชีพอิสระ ธุรกิจส่วนตัว ที่เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องจักรกล, ผลิตเครื่องจักรกล, ซ่อมบำรุงรักษาเครื่องจักรกล, ออกแบบแม่พิมพ์, รับจ้างผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน
สถานที่ติดต่อ
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการออกแบบและผลิตเครื่องจักรกล ชั้น 1 อาคาร 63
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยียพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800
http://mm.cit.kmutnb.ac.th/program.php
02 – 555 – 2000 ext 6430
Asst. Prof. Dr. Sarayut Ngerntong (Sarayut.n@cit.kmutnb.ac.th)
Asst. Prof. Dr. Kittiphat Rattanachan (Kittiphat.r@cit.kmutnb.ac.th
Asst. Prof. Dr. Sunthorn Sittisakuljareon (Sunthorn.s@cit.kmutnb.ac.th)
Asst. Prof. Kwanchai Saeweenan Kwanchai.s@cit.kmutnb.ac.th)
Dr. Noppachai Saiwaew (Noppachai.s@cit.kmutnb.ac.th)