ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปานทิพย์ บุญส่ง
คุณวุฒิและสาขาวิชา
วุฒิการศึกษา |
คุณวุฒิ/สาขาวิชา |
สถาบัน |
ปีที่สำเร็จ |
วท.บ. |
เคมี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
2546 |
วท.ม. |
เทคโนโลยีชีวเคมี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
2548 |
ปร.ด. |
เทคโนโลยีชีวเคมี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
2554 |
ประวัติการทำงาน
พ.ศ.2556 - ปัจจุบัน : อาจารย์ประจำ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์และสังคม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ผลงานทางวิชาการ
1. บทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
นวดล เพ็ชรวัฒนา, ปานทิพย์ บุญส่ง, ศจีมาจ ณ วิเชียร, และสาลินี อาจารีย์. (มกราคม - เมษายน 2562). “บรรจุภัณฑ์อาหารต้านจุลินทรีย์จากพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพผสมน้ำมันหอมระเหย.” วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม. 15(1) : 84-98.
Boonsong P. and Paksamut J. (2018). “Efficiency Improvement of Some Agricultural Residue Modified Materials for Textile Dyes Absorption”, IOP Conference Series: Materials Science and Engineering, Vol. 317, 012035.
Paksamut J. and Boonsong P. (2018). “Removal of Copper (II) Ions in Aqueous Solutions Using Tannin-Rich Plants as Natural Bio-Adsorbents”, IOP Conference Series: Materials Science and Engineering, Vol. 317, 012058.
2. บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ฉบับเต็มจากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือ นานาชาติ
ศักรินทร์ ไกรรอด, ธิรดา รอดเสียงลั้ง, และปานทิพย์ บุญส่ง. (2562). “การผลิตฟิล์มบริโภคได้จากฟิล์มแป้งมันสำปะหลังผสมน้ำลำไย.” การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 นวัตกรรมการจัดการ: สังคมสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. (หน้า 1209-1219). วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปทุมธานี ประเทศไทย (31 พฤษภาคม 2562).
นวดล เพ็ชรวัฒนา ศจีมาจ ณ วิเชียร ปานทิพย์ บุญส่ง และภัคจิรัตน์ สิงหบุตร. (2561). “ผลของน้ำมันหอมระเหยต่อสมบัติทางกล ทางความร้อนและการต้านจุลินทรีย์ของฟิล์มพอลิบิวทิลีนซัคซิเนต.” การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 47. (หน้า 1372-1380). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาสารคาม. (6 ธันวาคม 2561).
ปกรณพัฒน์ กําดี, ปานทิพย์ บุญส่ง และสาลินี อาจารีย์. (2561). “การพัฒนาผงปรุงรสสำหรับอาหารสุขภาพ.” การประชุมวิชาการนวัตกรรมด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ครั้งที่ 2. (หน้า 546-553). มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตร่มเกล้า กรุงเทพมหานคร. (16 ธันวาคม 2561).
พงษ์ภัค มณีรัตน์, ปานทิพย์ บุญส่ง, และ สาลินี อาจารีย์. “การผลิตถ่านอัดแท่งชีวมวลจากถ่านกะลามะพร้าวและผักตบชวา.” การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (หน้า 312-321). มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร. (19 - 20 กรกฎาคม 2561).
Jarunjaruphat N., Acharry S., and Boonsong P. (2018). “Possibility of Particleboard Production from Nipa Palm Shell for Interior Architecture.” The 3rd International Conference on Engineering Science and Innovative Technology (ESIT 2018). (pp. 445-450). Marriott Khao Lak Resort and Spa, Phang-Nga, Thailand. (19-22 April 2018).
ความเชี่ยวชาญ
- Plant Bioactive
- Phytochemical and Application
- Biochemical Technology